วันพุธที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2555

Glassfish Secure Admin must be enabled to access the DAS remotely.


Glassfish version 3.1.2: Secure Admin must be enabled to access the DAS remotely.

Overview

Firstly, I only install the new Glassfish 3.1.2 only in my laptop and access the administration module locally by using “localhost:4048″. When I install it on the development server and try to access it remotely, by using “http:/my_host:port”. It shows me an error as cannot login with the message as
Secure Admin must be enabled to access the DAS remotely.

The Investigation

I’ve found the nice solution form stack overflow here.

The solution

It’s simple by activate the secure admin by using the following command line: -
1asadmin --host [host] --port [port] enable-secure-admin

วันจันทร์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2555

config โดยการใช้ Bonding

 *  ความต้องการของระบบ
          o ในที่นี้ผมใช้ kernel 2.4.x เป็นตัวทดสอบนะครับ (Version ผมไม่ทราบนะครับ)
          o อุปกรณ์ Network ที่ใช้ต้องเป็น Switch นะครับ จะเป็น stack หรือไม่ stack ก็ได้นะครับ
          o Lan Card เป็นแบบทั่วไปนะครับ ที่ Support linux นะครับ

    เริ่มการ config โดยการใช้ Bonding กันเลยนะครับ

        * ในที่นี้ใช้ bonding เป็น module นะครับ สำหรับคนที่ไม่มี Module bonding ต้อง compile ให้ support ก่อนนะครับ โดยการเลือก

              Network device support --->

                  [*] Network device support

                  Dummy net driver support

        การ Config Module Bonding การแก้ไข file /etc/modules.conf โดยการเพิ่มบรรทัดนี้ลงไปนะครับ

            alias bond0 bonding

        * โปรแกรมที่ใช้ config lan card ให้เป็น slave ของ bonding คือโปรแกรม ifenslave ซึ่งสามารถ compile โปรแกรมได้จาก source ของ kernel linux ดังนี้
              o gcc -Wall -Wstrict-prototypes -O -I/usr/src/linux/include ifenslave.c -o ifenslave
              o cp ifenslave /sbin/ifenslave
        * ในส่วนนี้เป็นวิธีการ config โดยผมใช้ ifconfig down eth(x) ลงก่อนทุกตัวนะครับ
              o /sbin/modprobe bonding mode=1 (mode=0 เป็น trunking ซึ่ง switch ต้อง support นะครับดูหมายเหตุข้างล่างนะครับ mode=1 เป็น active backup policy mode=2 เป็น XOR) ในที่นี้ผมได้ทดลองโดยการใช้ switch ที่ไม่มี mode trunking นะครับ
              o /sbin/ifconfig bond0 192.168.0.254 broadcast 192.168.0.255 netmask 255.255.255.0 up นี้เป็น config interface bond0 ให้ทำงานที่ ip 192.168.0.254 นะครับ
              o /sbin/ifenslave bond0 eth1 eth0 อันนี้เป็นการใช้โปรแกรม ifenslave ในการสร้าง eth0 eth1 เป็น slave ของ bonding นะครับ ถ้าเราใช้ ifconfig ในการตรวจสอบจะพบดังนี้

              �

              bond0 Link encap:Ethernet HWaddr 00:50:04:C1:A6:B8
              inet addr:192.168.0.254 Bcast:192.168.0.255 Mask:255.255.255.0
              UP BROADCAST RUNNING MASTER MULTICAST MTU:1500 Metric:1
              RX packets:9098 errors:0 dropped:0 overruns:0 frame:0
              TX packets:2426 errors:0 dropped:0 overruns:0 carrier:0
              collisions:21 txqueuelen:0

              eth0 Link encap:Ethernet HWaddr 00:20:AF:30:71:D4
              inet addr:192.168.0.254 Bcast:192.168.0.255 Mask:255.255.255.0
              UP BROADCAST DEBUG NOTRAILERS RUNNING NOARP PROMISC SLAVE MULTICAST DYNAMIC MTU:1500 Metric:1
              RX packets:5762 errors:0 dropped:0 overruns:0 frame:0
              TX packets:0 errors:0 dropped:0 overruns:0 carrier:0
              collisions:0 txqueuelen:100
              Interrupt:3 Base address:0x210

              eth1 Link encap:Ethernet HWaddr 00:50:04:C1:A6:B8
              inet addr:192.168.0.254 Bcast:192.168.0.255 Mask:255.255.255.0
              UP BROADCAST DEBUG NOTRAILERS RUNNING PROMISC SLAVE MULTICAST DYNAMIC MTU:1500 Metric:1
              RX packets:3336 errors:0 dropped:0 overruns:0 frame:0
              TX packets:2426 errors:0 dropped:0 overruns:0 carrier:0
              collisions:21 txqueuelen:100
              Interrupt:5 Base address:0xf480

              o หมายเหตุ ซึ่งวิธีการนี้ผมเป็นการใช้ linux connect lan card 2 ตัว ต่อกับ switch ตัวเดียวกัน 2 port นะครับ โดยที่ swith ไม่มี mode trunking นะครับ วิธีการที่จะใช้ bonding ในรูปแบบอื่นๆสามารถหาอ่านเพิ่มเติมได้จาก Documentation/networking/bonding.txt ใน source ของ kernel นะครับ

ถ้าเป็น NIC 2 interface แล้วทำเป็น IP เดียว ethernet bonding

มนตรี เทพไพศาล บอย[ด่านมะขามเตี้ย]:
ถ้าเป็น NIC 2 interface แล้วทำเป็น IP เดียว ethernet bonding    
เพิ่ม Lan Card ใหม่โดยใช้ IP เดิม เพื่อเพิ่มแบนด์วิธ (Bonding)
Ethernet Bonding Fedora Linux
พอร์ตแลน (Ethernet) ของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ถือว่าเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเป็นส่วนที่จะรับส่งข้อมูลกับเคื่องอื่นๆ ถ้าเซิร์ฟเวอร์มีแค่พอร์ตเดียวเชื่อมต่อเข้าเน็ตเวิร์ก แล้วสายที่เชื่อมต่อหลุดไป หรือไม่สามารถรองรับปริมาณการรับส่งข้อมูลได้เพียงพอ ก็อาจทำให้เกิดปัญหาการใช้งานได้

ในบทความนี้ขอแนะนำการคอนฟิก Ethernet Bonding (หรือ Teaming) เพื่อแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น โดยจะมีการจัดกลุ่มพอร์ตแลนเข้าด้วยกัน เพื่อช่วยในการรับส่งข้อมูล รูปแบบการส่งจะมีสองแบบใหญ่ๆ คือ

    * Active-backup พอร์ตหนึ่งจะทำหน้าพอร์ตหลักเพื่อใช้รับส่งข้อมูล (Active) แต่อีกพอร์ตหนึ่งจะสำรอง (Backup) ไว้เฉยๆ ไม่มีการรับส่งข้อมูลใดๆ ผ่านทางพอร์ตสำรอง แต่เมื่อไรที่พอร์ตหลักมีปัญหาพอร์ตนี้จะรับส่งข้อมูลแทน สำหรับ Ethernet Bonding จะเป็นคอนฟิกใน mode 1
    * Load Balance พอร์ตทั้งหมดในกลุ่มจะช่วยกันรับส่งข้อมูล ส่วนเทคนิคในการรับส่งจะมีหลายแบบด้วยกันแล้วแต่ mode ที่คอนฟิก

ในตัวอย่างจะเป็นการคอนฟิกบน Fedora 9 ซึ่งน่าจะประยุกต์ใช้กับ Fedora เวอร์ชั่นอื่นๆ,  CentOS, RedHat หรือลีนุกซ์ตัวอื่นๆ ได้
เตรียมพอร์ตแลนที่จะคอนฟิกเป็น Ethernet Bonding

ในตัวอย่างจะใช้พอร์ตแลน eth2 และ eth3 เพื่อคอนฟิกรวมเป็น bond0

เริ่มต้นสร้างไฟล์ /etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-bond0 ซึ่งจะเป็นไฟล์คอนฟิกของ bond0 เป็นพอร์ต bonding (ในเครื่องหนึ่งสามารถจัดกลุ่มทำได้หลาย bonding พอร์ตที่คอนฟิกก็จะเป็น bond1, bond2 เป็นต้น) ในไฟล์จะมีคอนฟิก IP Address, Netmask เหมือนที่คอนฟิกพอร์ต ethernet ทั่วไป

ตัวอย่างคอนฟิก ifcfg-bond0

[root@fc9-x1 ~]# cat /etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-bond0
DEVICE=bond0
IPADDR=10.1.0.1
NETMASK=255.255.255.0
BROADCAST=10.1.0.255
ONBOOT=yes
BOOTPROTO=none
USERCTL=no

คอนฟิกพอร์ต (Physical) ให้อยู่ในกลุ่ม bond0 ตามตัวอย่าง

[root@fc9-x1 ~]# cat /etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-eth2
DEVICE=eth2
BOOTPROTO=none
ONBOOT=yes
MASTER=bond0
SLAVE=yes
USECTL=no

[root@fc9-x1 ~]# cat /etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-eth3
DEVICE=eth3
BOOTPROTO=none
ONBOOT=yes
MASTER=bond0
SLAVE=yes
USECTL=no

แก้ไขไฟล์ /etc/modprobe.conf เพื่อให้โหลด kernel module สำหรับการทำ bonding ตอนที่มีการโหลดคอนฟิก bond0

[root@fc9-x1 ~]# cat /etc/modprobe.conf
alias bond0 bonding
options bonding miimon=100 mode=1

สามารถระบุว่าจะทำ bonding เพื่อรับส่งข้อมูลแบบไหนได้จากคอนฟิก mode ดังนี้

    * mode=0 (balance-rr) เป็นการส่งข้อมูลแบบ round-robin (load balancing, fault tolerance)
    * mode=1 (active-backup) สถานการณ์ปกติจะมีพอร์ตเดียวเท่านั้นที่ใช้รับส่งข้อมูล (fault tolerance)
    * mode=2 (balance-xor) เป็นการส่งข้อมูลแบบใช้ XOR เพื่อหาพอร์ตที่จะส่ง เช่นคำนวณจาก MAC Address ต้นทางปลายทางเป็นต้น (load balancing, fault tolerance)
    * mode=3 (broadcast)
    * mode=4 (802.3ad) เป็นส่งข้อมูลแบบ Link Aggregation Control Protocol (LACP) / 802.3ad
    * mode=5 (balance-tlb) ส่งข้อมูลแบบ Adaptive transmit load balancing
    * mode=6 (balance-alb) ส่งข้อมูลแบบ Adaptive load balancing

หมายเหตุ รายละเอียดเพิ่มเติมดูได้จากไฟล์ /usr/share/doc/kernel-doc-2.6.25/Documentation/networking/bonding.txt จาก kernel-doc-2.6.25-14.fc9.noarch.rpm

ในเริ่มต้นแนะนำให้ทดสอบกับ mode=1 เพื่อทดลอง active-backup ก่อน

หลังจากสร้างไฟล์คอนฟิกทั้งหมดแล้ว รีบูตเครื่องหนึ่งครั้ง เผื่อให้ bond0 ถูกโหลดขึ้นมา
ตรวจสอบสถานะของ Ethernet Bonding

เมื่อเครื่องบูตเสร็จเรียบร้อย ถ้าถูกต้องเมื่อรันคำสั่ง ifconfig จะมีพอร์ต bond0 เพิ่มขึ้นมาตามตัวอย่าง

[root@server ~]# ifconfig
bond0     Link encap:Ethernet  HWaddr 00:0C:22:FF:11:55
          inet addr:10.1.0.1  Bcast:10.1.0.255  Mask:255.255.255.0
          UP BROADCAST RUNNING MASTER MULTICAST  MTU:1500  Metric:1
          RX packets:13 errors:0 dropped:0 overruns:0 frame:0
          TX packets:19 errors:0 dropped:0 overruns:0 carrier:0
          collisions:0 txqueuelen:0
          RX bytes:1160 (1.1 KiB)  TX bytes:1574 (1.5 KiB)

...

eth2      Link encap:Ethernet  HWaddr 00:0C:22:FF:11:55
          UP BROADCAST RUNNING SLAVE MULTICAST  MTU:1500  Metric:1
          RX packets:12 errors:0 dropped:0 overruns:0 frame:0
          TX packets:19 errors:0 dropped:0 overruns:0 carrier:0
          collisions:0 txqueuelen:1000
          RX bytes:1100 (1.0 KiB)  TX bytes:1574 (1.5 KiB)
          Interrupt:16 Base address:0x1824

eth3      Link encap:Ethernet  HWaddr 00:0C:22:FF:11:55
          UP BROADCAST RUNNING SLAVE MULTICAST  MTU:1500  Metric:1
          RX packets:1 errors:0 dropped:0 overruns:0 frame:0
          TX packets:0 errors:0 dropped:0 overruns:0 carrier:0
          collisions:0 txqueuelen:1000
          RX bytes:60 (60.0 b)  TX bytes:0 (0.0 b)
          Interrupt:17 Base address:0x18a4

ข้อสังเกตจากคำสั่ง ifconfig

    * HWaddr หรือ MAC Address ของแต่ละพอร์ตที่ทำ bonding ด้วยกันจะเป็นค่าเดียวกันหมด ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการทำ fail over
    * ในโหมด active-backup ปกติจะมีพอร์ตเดียวทำหน้าที่เป็นหลักใช้ในการรับส่งข้อมูล ซึ่งดูได้จากค่า RX, TX packets

หากต้องการรู้ว่าพอร์ตไหนถูกใช้เป็นหลัก (active) ในการส่งข้อมูล สามารถดูได้จากไฟล์ /proc/net/bonding/bond0

ตัวอย่างไฟล์ /proc/net/bonding/bond0

[root@fc9-x1 ~]# cat /proc/net/bonding/bond0
Ethernet Channel Bonding Driver: v3.2.5 (March 21, 2008)

Bonding Mode: fault-tolerance (active-backup)
Primary Slave: None
Currently Active Slave: eth2
MII Status: up
MII Polling Interval (ms): 100
Up Delay (ms): 0
Down Delay (ms): 0

Slave Interface: eth2
MII Status: up
Link Failure Count: 0
Permanent HW addr: 00:0c:22:ff:11:55

Slave Interface: eth3
MII Status: up
Link Failure Count: 0
Permanent HW addr: 00:0c:22:ff:11:56

จากตัวอย่างพอร์ตหลักที่ถูกใช้ในโหมด (active-backup) คือพอร์ต eth2 ดูได้จาก Currently Active Slave: eth2
ทดสอบการ fail over

แนะนำว่าก่อนที่จะดึงสายแลนให้รันคำสั่ง ping ทิ้งไว้ เพื่อดูว่าเวลาที่มีการ fail over จะยังส่งข้อมูลต่อไปได้เลยไหม

ทดลองดึงสายออกจากพอร์ต eth2 แล้วตรวจสอบไฟล์ /proc/net/bonding/bond0 อีกครั้ง จะเห็นว่าพอร์ต eth3 จะถูกนำมาใช้เป็นหลักในการรับส่งข้อมูลแทน แล้วคำสั่ง ping ก็ยังคงทำงานอยู่ อาจมีสะดุดไปบ้างเล็กน้อย

[root@fc9-x1 ~]# cat /proc/net/bonding/bond0
Ethernet Channel Bonding Driver: v3.2.5 (March 21, 2008)

Bonding Mode: fault-tolerance (active-backup)
Primary Slave: None
Currently Active Slave: eth3
MII Status: up
MII Polling Interval (ms): 100
Up Delay (ms): 0
Down Delay (ms): 0

Slave Interface: eth2
MII Status: down
Link Failure Count: 1
Permanent HW addr: 00:0c:22:ff:11:55

Slave Interface: eth3
MII Status: up
Link Failure Count: 0
Permanent HW addr: 00:0c:22:ff:11:56

จากผลลัพธ์จะแสดงสถานะของ bonding ต่างๆ ดังนี้

    * Currently Active Slave: eth3 พอร์ตหลักที่ใช้รับส่งข้อมูลตอนนี้
    * Slave Interface: eth2, MII Status: down สถานะของพอร์ต eth2 down
    * Link Failur Count: 1 แสดงตัวเลขจำนวนครั้งที่พอร์ตมีปัญหา

สุดท้ายทดสอบด้วยการเสียบสายกลับเข้าไปที่พอร์ตที่ 2 จะเห็นว่าไม่มีการ fail over กลับมาที่พอร์ต eth2 พอร์ต eth3 จะยังคงเป็นหลักในการรับส่งข้อมูลอยู่

Ethernet bonding on Debianv

Ethernet bonding on Debian
โดย: โสทร รอดคงที่  srk@hospital-os.com
วันที่: วันที่เขียน 22 สิงหาคม 2548
ปรังปรุงจาก: -
ปรับปรุงล่าสุด:  -
แหล่งข้อมูล:
http://glasnost.beeznest.org/articles/179http://www.jebus.ca/Linux/ethernet_bonding.php
http://lists.debian.org/debian-user-spanish/2004/05/msg00220.html 


เกริ่นนำ:


หลังจากที่ได้ทำลองทำ Ethernet Bonding บน Red Hat สำเร็จ ก็ได้ทดลองทำ บน Debian บ้าง
ปรากฏว่ามีอะไรหลายอย่างที่ไม่เหมือน Red Hat เอกสารบางอย่างที่ค้นมาทำไม่สำเร็จก็มี
ที่ทดลองทำสำเร็จ มี 2 วิธีซึ่งไม่ทราบเหมือนกันว่าอันไหนจะดีกว่ากัน ที่เขียนไม่ได้หวัง ว่าจะให้ทำ bonding ได้นะครับ
คิดว่ามาเริ่มต้นเรียนรู้ Debian กันดีกว่า

สิ่งจำเป็น:คอมพิวเตอร์ ใส่ Lan Card 2 อัน ติดตั้ง linux Debian

ขั้นตอนการทำ

ทั้งสองวิธีมีวิธีการทำที่เหมือนกันคือ

ติดตั้ง package ifenslave-2.4 (kernel 2.4) ifenslave-2.6 (kernel 2.6)
ใครใช้ kernel ไหนอยู่ก็ติดตั้ง ตาม Kernel นั้นนะครับ
การติดตั้ง เครื่องที่จะติดตั้งต้องสามารถใช้ งาน Internet ได้

แก้ไฟล์ /etc/apt/sources.list เพื่อระบุที่ที่เราจะไปดาวน์โหลดโปรแกรม
vi /etc/apt/sources.list
เพิ่ม
deb http://ftp.au.debian.org/debian/ stable main
deb-src http://ftp.au.debian.org/debian/ stable main
                                                                               
deb http://security.debian.org/ stable/updates main


#ผมชอบดาวน์โหลดจากออสเตรเลีย รู้สึกว่าเร็วกว่า

apt-get update

apt-get install ifenslave-2.4หรือ
apt-get install ifenslave-2.6
แค่นี้ก็ติดตั้งเสร็จแล้ว
การใช้งาน apt-get ดูรายละเอียดจากของพี่อุทัยนะครับ


แก้ไฟล์ /etc/modules.conf
เพิ่มบรรทัดนี้เข้าไป
alias bond0 bonding
options bonding maxbonds=4 mode=6 miimon=100 หรือ
/etc/modprobe.d/arch/i386
alias bond0 bonding
options bonding mode=1 miimon=100 downdelay=200 updelay=200


option ต่างๆ ดูได้จาก

http://www.kernel.org/pub/linux/kernel/people/marcelo/linux-2.4/Documentation/networking/bonding.txt
ยังไม่ชำนาญ Debian นะครับ ไม่สามารถอะธิบายได้ว่า
/etc/modules.conf และ /etc/modprobe.d/arch/i386 มีหน้าที่ยังไง
ดูๆ แล้วก็เหมือน ๆ กัน ใครเซียน Debian ก็บอกมาหน่อยก็แล้วกันนะครับ


วิธีการทำ Bonding 2 วิธีนี้ อันนี้เป็นตัวอย่าง
ประยุกต์ใช้งานเอาเองนะครับ

วิธีที่ 1
สร้างไฟล์ rc.local ใน /etc/init.d
cd /etc/init.d
touch rc.local
แล้วก็ทำ link
ln -s /etc/init.d/rc.local /etc/rc2.d/S99rc.local
chmod 755 rc.local


แก้ไฟล์ /etc/init.d/rc.local
อาจจะใช้ VI หรือ Text Editor ที่ ท่านถนัด
vi rc.local

โดยเพิ่มข้อคความเหล่านี้

/etc/init.d/networking stop
modprobe bonding max_bonds=2
ifconfig bond0 192.168.1.1 netmask 255.255.255.0 broadcast 192.168.1.255 up
ifconfig eth0 up
ifconfig eth1 up
ifenslave bond0 eth0 eth1
route add default gw 192.168.1.254

วิธีที่ 2

แก้ไฟล์ /etc/network/interface


auto bond0
iface bond0 inet static
address 192.168.1.1
netmask 255.255.255.0
gateway 192.168.1.254
pre-up ifconfig eth0 up
pre-up ifconfig eth1 up
up ifenslave bond0 eth0 eth1
down ifenslave -d bond0 eth0 eth1
post-down ifconfig eth0 down
post-down ifconfig eth1 down


เสร็จแล้วครับทั้งสองวิธีนี้สามารถใช้งานได้

วิธีการทำ Bonding NIC แบบต่างๆ

posted on 19 May 2009 07:14 by smartsoft  in Linux
การ bonding นั้นมี อัลกอริทึม หลายแบบหากที่เห็นนิยมจะมีอยู่ สองแบบ คือ active-backup และ balance-rr ซึ่ง Server ปัจจุบันมักให้ NIC มากกว่าหนึ่งเสมอๆ active-backup เอาภาษาชาวบ้าน เราก็คือ Card ไหนพัง อีก Card ก็จะทำงานแทนครับ
balance-rr (Round-robin) คือ การสลับ session กันทำงานครับ

นอกจากสองวิธีนี้ยังมีอัลกอริทึมอื่นๆอีกนะครับ ลองอ่านได้จาก /usr/share/doc/

ขั้นตอนที่ 1. สร้าง file ifcfg-bond0
#vi /etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-bond0
DEVICE=bond0
IPADDR=xxx.xxx.xxx.xxx
NETMASK=xxx.xxx.xxx.xxx
NETWORK=xxx.xxx.xxx.xxx
BROADCAST=xxx.xxx.xxx.xxx
GATEWAY=xxx.xxx.xxx.xxx
ONBOOT=yes
BOOTPROTO=none
USERCTL=no

ขั้นตอนที่ 2. แก้ไข files /etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-eth0, ifcfg-eth1
#/etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-ethX (x=Card ใบไหน)
# Intel Corporation 82573E Gigabit Ethernet Controller (Copper)
**DEVICE=ethX
**HWADDR=00:14:5E:E3:F1:X1 (ระวังตรงนี้ครับควร fix Hardware add ด้วยเพราะจะได้ไม่สับสนเรื่อง Card)
BOOTPROTO=none
ONBOOT=yes
USERCTL=no
MASTER=bond0
SLAVE=yes

**ทำทั้งสอง filesc แต่ card ใคร card มันนะครับอย่าซ้ำกัน ส่วนที่ไม่ได้ comment เหมือนกันหมดครับ

ขั้นตอนที่ 3. แก้ไข file /etc/modprobe.conf
#vi /etc/modprobe.conf ให้เพิ่หลัง load alias eth นะคัรบ
alias bond0 bonding
options bonding mode=active-backup miimon=100

อยากได้การทำงานแบบ active-backup หรือ balance-rr ก็แก้ไขหลัง mode ครับหลังจากนั้นเอา ชัวๆ ก็ restart เครื่องเลยครับดูว่ามี error อะไรหรือไม่
หลังจากนั้น checkได้จาก
#cat /proc/net/bonding/bond0 จะไ้ด้ผลประมาณนี้ครับ
Ethernet Channel Bonding Driver: v3.x.x (May 02, 2008)
Bonding Mode: fault-tolerance (active-backup)
Primary Slave: None
Currently Active Slave: eth2
MII Status: up
MII Polling Interval (ms): 100
Up Delay (ms): 0
Down Delay (ms): 0

Slave Interface: eth0
MII Status: down
Link Failure Count: 0
Permanent HW addr: 00:11:3f:5c:xx:fd

Slave Interface: eth2
MII Status: up
Link Failure Count: 0
Permanent HW addr: 00:11:3f:7c:4d:21

แถมให้หน่อยครับ Command #ethtool -p ethx เป็นการสั่งให้ LED กระพริบครับ
เพื่อใครมี Card เยอะจะได้เอาไว้หาว่าใบไหนเป็นใบไหน

วันอาทิตย์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2555

กำหนดค่า IP Address สำหรับ linux

กำหนดค่า Ip สำหรับ Linux 
 Command กำหนดค่าได้ที่ไฟล์
ifcfg-eth0 จะอยู่ที่ Path "/etc/sysconfig/network-scripts"
เมื่อกำหนดค่าให้ใช้คำสั่่ง restart service network ให้ระบบ linux ใช้งาน
สำหรับ Linux Debian หรือ  Ubuntu กำหนดค่าไฟล์ interfaces 
จะอยู่ที่ Path "/etc/network"
Restart network ให้ด้วยคำสั่ง restart service networking

กำหนดค่า DNS
แก้ไขที่ไฟล์
/etc/resolv.conf

กำหนดค่า่ Hostname
กำหนดค่าได้ที่ไฟล์
/etc/hosts